Translate

วันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การเลือกขนาดแอร์ให้เหมาะสมกับห้อง



BTU (British Thermal Unit) คือ ขนาดทำความเย็นของ เครื่องปรับอากาศ มีหน่วยดังนี้ 1 ตันความเย็น เท่ากับ 12000 BTU/hr. เราควรเลือกขนาด BTU ให้เหมาะสมกับขนาด ของห้อง ที่จะทำการติดตั้ง โดยสามารถเลือก ได้จากตารางด้านขวานี้
Btu/h
ห้องปกติ
ห้องโดนแดด
9,000
12-15 ตร.ม.
11-14 ตร.ม.
12,000
16-20 ตร.ม.
14-18 ตร.ม.
18,000
24-30 ตร.ม.
21-27 ตร.ม.
21,000
28-35 ตร.ม.
25-32 ตร.ม.
24,000
32-40 ตร.ม.
28-36 ตร.ม.
25,000
35-44 ตร.ม.
30-39 ตร.ม.
30,000
40-50 ตร.ม.
35-45 ตร.ม.
35,000
48-60 ตร.ม.
42-54 ตร.ม.
48,000
64-80 ตร.ม.
56-72 ตร.ม.
80,000
80-100 ตร.ม.
70-90 ตร.ม.

ปัจจัยที่ควรพิจารณาเพิ่มเติม ในการเลือกซื้อ เครื่องปรับอากาศ
1.     จำนวนและขนาดของหน้าต่าง
2.     ทิศที่แดดส่องหรือทิศที่ตั้งของห้อง
3.     วัสดุหลังคามีฉนวนกันความร้อนหรือไม
4.     จำนวนคนทีใช้งานในห้อง
ปัจจัยที่ควรพิจารณาเพิ่มเติม ในการเลือกซื้อ เครื่องปรับอากาศ
ทำไมต้องเลือก BTU ให้พอเหมาะ
     BTU สูงไป คอมเพรสเซอร์ทำงานตัดบ่อยเกินไป ทำให้ประสิทธิภาพ ในการทำงานลดน้อยลง ทำให้ความชื้นในห้องสูง ไม่สบายตัว และที่สำคัญราคาแพง และสิ้นเปลืองพลังงาน
BTU ต่ำไป คอมเพรสเซอร์ทำงานตลอดเวลา เพราะความเย็นห้องไม่ได้ตามอุณหภูมิที่ตั้งไว้ สิ้นเปลืองพลังงาน และเครื่องปรับอากาศเสียเร็ว
การคำนวณ BTU ของเครื่องปรับอากาศ
BTU = พื้นที่ห้อง (กว้าง*ยาว)*ตัวแปร
ตัวแปรความร้อน แบ่งได้ 2ระดับ
     700 ห้องที่มีความร้อนน้อยใช้เฉพาะกลางคืน
     800 ห้องที่มีความร้อนสูงใช้กลางวันมาก กรณีที่เพดานสูงกว่า 2.5 เมตร ให้บวกเพิ่มจากเดิม 5%
ค่าใช้จ่าย (พลังงาน) ในการใช้งาน เครื่องปรับอากาศ (แอร์ แอร์บ้าน)
เครื่องปรับอากาศ เป็น อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานมากและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูงโดยเห็นได้จาก พลังงานไฟฟ้าโดยรวมของเครื่องใช้ไฟฟ้า ในบ้าน 50-80 เปอร์เซ็นต์ เป็นพลังงานที่ใช้กับ เครื่องปรับอากาศแต่อย่างไรก็ตามด้วยอุณหภูมิบ้านเราร้อนขึ้นเรื่อยๆ เครื่องปรับอากาศก็มีความจำเป็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นเราควรจำเป็นทำความเข้าใจเรื่องค่าใช้จ่ายพลังงาน เพื่อนำไปพิจารณาประกอบการเลือกซื้อ เครื่องปรับอากาศ  ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างเหมาะสม และไม่เกินความจำเป็น
Type
Btu/h
Watt
จำนวนหน่วยที่ใช้/1 ชั่วโมง
ระยะเวลา/วัน
หน่วย/เดือน
ค่าไฟ
ติดหน้าต่าง
9000
920
0.92
8 ชั่วโมง คอมเพรสเซอร์ทำงาน 6 ชั่วโมง
165.6
418.97
12000
1150
1.15
207.0
523.71
24000
2900
2.99
538.2
1,361.65
ติดผนัง
9000
680
0.68
122.4
309.67
12000
1130
1.13
203.4
514.60
24000
2490
2.49
448.2
1,133.92
ตั้ง/แขวน
12000
1330
1.33
239.4
605.68
24000
2710
2.71
487.8
1,234.13


สำหรับ เครื่องปรับอากาศขนาด 12000 BTU ถ้าปรับอุณภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา (นับจาก 25 องศา) เป็นระยะเวลา 8 ชั่วโมง/วัน ช่วยชาติประหยัดไฟได้วันละ 2บาท/วัน 60บาท/เดือน คิดเป็น 720บาท/ปี ต่อครัวเรือน





รายการคำนวนหาขนาด BTU ขนาดห้อง [ ตารางเมตร ]่
ขนาดเครื่อง (BTU)
ห้องนอน
ห้องนอน
โดนแดด
ห้องรับแขก
ห้องรับแขก
โดนแดด
ห้องทำงาน
ห้องทำงาน
โดนแดด
9000
09 - 16
09 - 14
09 - 16
09 - 14
09 - 14
09 - 14
12000
16 - 22
14 - 20
16 - 20
14 - 18
14 - 18
14 -16
15300
20 - 28
18 - 26
20 - 26
18 - 23
18 - 23
15 - 20
18000
24 - 33
21 - 30
24 - 30
21 - 27
21 - 27
18 - 24
20800
28 - 38
24 - 35
28 - 35
24 - 31
24 - 31
21 - 28
22800
30 - 42
27 - 38
30 - 38
27 - 34
27 - 34
23 - 30
27200
36 - 50
32 - 45
36 - 45
32 - 41
32 - 41
27 - 36
32800
44 - 60
38 - 55
44 - 55
38 - 49
38 - 49
33 - 44
38000
51 - 70
44 - 63
51 - 63
44 - 57
44 - 57
38 - 51
53000
71 - 97
62 - 88
71 - 88
62 - 80
62 - 80
53 - 71
64000
86 - 118
75 - 107
86 - 107
75 - 97
75 - 97
64 - 86



ตารางเปรียบเทียบค่าไฟฟ้า










คำนวณแอร์เบอร์ 5 ที่ EER

10.6

คำนวณที่ 1 เดือนมี 30 วัน





คำนวณแอร์ีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีี Neo - Tech EER
14.98










ตารางคำนวณ
No.4
No.5
Neo-Tech
No.4
No.5
Neo-Tech
No.4
No.5
Neo-Tech
No.4
No.5
Neo-Tech
จำนวนชั่วโมงที่ใช้

8


12


16


24

9000 BTU
569
516
365
854
773
547
1139
1031
730
1708
1547
1094
12000 BTU
759
687
486
1139
1031
730
1518
1375
973
2277
2062
1459
18000 BTU
1139
1031
730
1708
1547
1094
2277
2062
1459
3416
3093
2189
20000 BTU
1265
1146
811
1898
1718
1216
2530
2291
1621
3795
3437
2432
25000 BTU
1581
1432
1013
2372
2148
1520
3163
2864
2027
4744
4296
3040
30000 BTU
1898
1718
1216
2846
2578
1824
3795
3437
2432
5693
5155
3648

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น